Skip to main content
sharethis

มมส.โพลล์ชี้พรรคเพื่อไทยได้ ส.ส.107 ที่นั่ง จาก 126 ที่นั่ง ใน 20 จังหวัดภาคอีสาน ส่วนประชาธิปัตย์ได้ 3 ที่นั่ง ด้านหาดใหญ่โพลล์เผย 6 จังหวัดใต้ ปชป.ได้ 22 ที่นั่ง จาก 24 ที่นั่ง พท.-มาตุภูมิแบ่งกัน 2 ที่นัง เมื่อวันที่ 24 มิ.ย. 54 ที่วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม รศ.สีดา สอนศรี คณบดีวิทยาลัยการเมืองการปกครอง และ ดร.อลงกรณ์ อรรคแสง หัวหน้าทีมวิจัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้เปิดผลการสำรวจแนวโน้มผลการเลือก ส.ส. ในวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากการลงพื้นที่เก็บข้อมูลจากประชากรใน 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวม 126 เขตเลือกตั้ง โดยสุ่มตัวอย่าง จำนวนทั้งสิ้น 16,380 ชุด เฉลี่ยเขตเลือกตั้งละ 130 ชุด แบบสำรวจมีผู้ตอบกลับ จำนวน 16,322 ชุด ผลการศึกษาแนวโน้มผลการเลือกตั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 54 ข้อมูล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง 8,393 คน คิดเป็นร้อยละ 51.6 รองลงมาเป็นเพศชาย 7,581 คน คิดเป็นร้อยละ 46.6 ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 26-35 ปี จำนวน 3,467 คน คิดเป็นร้อยละ 21.1 อาชีพผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกร จำนวน 5,536 คน คิดเป็นร้อยละ 34.1 รองลงมามีอาชีพรับจ้าง 3,211 คน คิดเป็นร้อยละ 19.8 การศึกษาของผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 6,206 คน คิดเป็นร้อยละ 38.4 รองลงมาจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา หรือเทียบเท่า จำนวน 3,403 คน คิดเป็นร้อยละ 21 การไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง จำนวน 14,502 คน คิดเป็นร้อยละ 93.5 ส่วนผู้ไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง จำนวน 233 คน คิดเป็นร้อยละ 1.5 ผลการสำรวจพบว่า ในภาพรวมคะแนนเสียงแบบบัญชีรายชื่อแยกตามพรรค พรรคที่ได้คะแนนสูงสุดคือ พรรคเพื่อไทย 10,481 รองลงมาพรรคประชาธิปัตย์ 2,072 คะแนน และพรรคภูมิใจไทย 1,317 คะแนน ภาพรวมจำนวน ส.ส.แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง พรรคที่ได้ที่นั่งมากที่สุดคือ พรรคเพื่อไทย 107 ที่นั่ง จาก 126 รองลงมาคือ พรรคภูมิใจไทย 10 ที่นั่ง, พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 5 ที่นั่ง พรรคประชาธิปัตย์ 3 ที่นั่ง และพรรคชาติไทยพัฒนา 1 ที่นั่ง โดยพรรคเพื่อไทยจะได้จำนวน ส.ส.มากกว่าพรรคประชาธิปัตย์ถึง 5 เท่า และใน 20 จังหวัด มี 11 จังหวัด ที่พรรคเพื่อไทยจะได้รับเลือกแบบยกจังหวัดทุกเขตเลือกตั้ง คือ จังหวัดบึงกาฬ, มหาสารคาม, มุกดาหาร, ยโสธร, ร้อยเอ็ด, เลย, ศรีสะเกษ, หนองคาย, หนองบัวลำภู, อำนาจเจริญ และจังหวัดอุบลราชธานี ภาพรวมคะแนนเสียงแบบบัญชีรายชื่อแยกตามพรรค พรรค จำนวน ร้อยละ พรรคเพื่อไทย 10,481 64.3 พรรคประชาธิปัตย์ 2,072 12.7 พรรคภูมิใจไทย 1,317 8.1 โหวตโน (Vote No) 800 4.9 พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 519 3.2 พรรคชาติไทยพัฒนา 223 1.4 พรรครักประเทศไทย 219 1.3 พรรคความหวังใหม่ 103 0.6 พรรครักษ์สันติ 101 0.6 พรรคกิจสังคม 86 0.5 พรรคมาตุภูมิ 67 0.4 พรรคการเมืองใหม่ 45 0.3 พรรคพลังคนกีฬา 31 0.2 พรรคอื่นๆ 12 0.1 รวม 16,305 100.0 คะแนนเสียงแบบบัญชีรายชื่อแยกตามพรรครายจังหวัด จังหวัด พรรค Vote No เพื่อไทย ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน รักประเทศไทย ประชาธิปัตย์ รักษ์สันติ ภูมิใจไทย ชาติไทยพัฒนา พรรคอื่นๆ กาฬสินธุ์ 2.1% 75.0% .3% .3% 11.9% .9% 4.5% 1.0% 4.0% ขอนแก่น 5.9% 68.8% 4.1% 1.1% 11.5% .3% 3.2% .4% 4.8% ชัยภูมิ 4.1% 60.9% 2.0% 2.0% 14.0% 1.4% 5.0% 3.4% 7.2% นครพนม .0% 59.9% 2.1% 1.2% 6.8% 1.4% 16.5% 4.7% 7.6% นครราชสีมา 5.2% 46.5% 9.6% 2.0% 18.5% .4% 12.9% .6% 4.4% บุรีรัมย์ 5.0% 42.3% 1.5% 1.5% 15.8% 1.3% 28.6% 1.4% 2.7% บึงกาฬ .0% 96.9% .4% .0% .4% .0% 1.6% .0% .8% หาสารคาม 7.5% 64.9% 1.0% 2.2% 14.9% .0% 7.2% .3% 2.1% มุกดาหาร .8% 68.0% 2.3% 1.2% 8.1% .0% 6.2% 5.0% 8.5% ยโสธร 8.5% 55.1% 2.6% 2.8% 16.2% 3.3% 6.4% .3% 4.9% ร้อยเอ็ด 2.7% 80.7% 2.8% 1.2% 6.0% .3% 3.1% 1.2% 1.9% เลย 5.3% 55.9% .2% 1.2% 20.3% .4% 11.8% .0% 4.9% ศรีสะเกษ 2.2% 83.3% 1.4% 3.0% 4.5% .0% 2.9% .8% 1.9% สกลนคร 3.7% 75.3% 1.4% .6% 8.9% .7% 3.3% .6% 5.5% สุรินทร์ 7.9% 59.9% .5% 1.1% 14.9% .5% 10.1% 3.9% 1.2% หนองคาย .8% 76.7% 3.6% .0% 1.0% .0% 16.7% .0% 1.3% นองบัวลำภู 3.1% 77.9% .5% .8% 9.5% .8% 5.7% .0% 1.8% อำนาจเจริญ 3.1% 62.7% .8% 1.5% 24.2% .8% 2.7% 1.5% 2.7% อุดรธานี 4.8% 79.5% 2.7% .4% 7.2% .4% 2.8% .4% 1.7% อุบลราชธานี 10.7% 49.3% 6.8% 1.1% 21.4% .7% 3.6% 2.6% 3.8% รวม 800 10,481 519 219 2,072 101 1,317 223 590 4.9% 64.2% 3.2% 1.3% 12.7% .6% 8.1% 1.4% 3.6% ภาพรวมจำนวน ส.ส.แบบแบ่งเขต พรรค จำนวนที่นั่ง ร้อยละ พรรคเพื่อไทย 107 (±2) 84.9 พรรคภูมิใจไทย 10 (±1) 7.9 พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 5 (±1) 4.0 พรรคประชาธิปัตย์ 3 2.4 พรรคชาติไทยพัฒนา 1 0.8 รวม 126 100.0 รายชื่อผู้มีแนวโน้มชนะการเลือกตั้ง ส.ส.แบบแบ่งเขตแยกตามจังหวัดและเขตเลือกตั้ง จังหวัด/เขต เบอร์ ชื่อผู้สมัคร พรรค จำนวน ร้อยละ กาฬสินธุ์ เขต 1 1 บุญรื่น ศรีธเรศ เพื่อไทย 76 58.5 กาฬสินธุ์ เขต 2 1 วีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ เพื่อไทย 95 73.1 กาฬสินธุ์ เขต 3 1 คมเดช ไชยศิวามงคล เพื่อไทย 129 99.2 กาฬสินธุ์ เขต 4 16 สำราญ ญาณกาย ภูมิใจไทย 50 38.5 หมายเหตุ : มีคะแนนใกล้เคียงกับพีระเพชร ศิริกุล พรรคเพื่อไทย (คะแนนเสียงร้อยละ 37.7) กาฬสินธุ์ เขต 5 1 นิพนธ์ ศรีธเรศ เพื่อไทย 77 63.1 กาฬสินธุ์ เขต 6 1 ประเสริฐ บุญเรือง เพื่อไทย 114 87.7 ขอนแก่น เขต 1 1 จักริน พัฒนดำรงจิตร เพื่อไทย 76 58.0 ขอนแก่น เขต 2 1 ภูมิ สารผล เพื่อไทย 81 71.7 ขอนแก่น เขต 3 1 จตุพร เจริญเชื้อ เพื่อไทย 128 98.5 ขอนแก่น เขต 4 1 มุกดา พงษ์สมบัติ เพื่อไทย 80 61.5 ขอนแก่น เขต 5 1 สุชาย ศรีสุรพล เพื่อไทย 54 41.5 ขอนแก่น เขต 6 1 สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ เพื่อไทย 64 49.2 ขอนแก่น เขต 7 2 จงรักษ์ คุณเงิน ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 78 53.1 ขอนแก่น เขต 8 1 ดวงแข อรรณนพพร เพื่อไทย 51 39.5 ขอนแก่น เขต 9 1 ร.ท.ปรีชาพล พงษ์พานิช เพื่อไทย 114 87.7 ขอนแก่น เขต 10 1 เรืองเดช สุพรรณฝ่าย เพื่อไทย 68 52.3 ชัยภูมิ เขต 1 16 โอชิษฐ์ เกียรติก้องชูชัย ภูมิใจไทย 84 64.6 ชัยภูมิ เขต 2 1 มานะ โลหะวณิชย์ เพื่อไทย 65 50.0 ชัยภูมิ เขต 3 1 ปาริชาติ ชาลีเครือ เพื่อไทย 75 71.4 ชัยภูมิ เขต 4 1 อนันต์ ลิมปคุปตถาวร เพื่อไทย 91 70.0 ชัยภูมิ เขต 5 1 เจริญ จรรย์โกมล เพื่อไทย 59 45.7 ชัยภูมิ เขต 6 21 เชวงศักดิ์ เร่งไพบูลย์วงษ์ ชาติไทยพัฒนา 59 45.4 ชัยภูมิ เขต 7 1 สุรวิทย์ คนสมบูรณ์ เพื่อไทย 103 79.2 นครพนม เขต 1 1 ยุทธจักร เรืองวรบูรณ์ เพื่อไทย 103 79.2 นครพนม เขต 2 16 อารมณ์ เวียงด้าน ภูมิใจไทย 72 56.7 นครพนม เขต 3 1 ไพจิต ศรีวรขาน เพื่อไทย 108 83.1 นครพนม เขต 4 2 อลงกต มณีกาศ ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 65 50.0 นครราชสีมา เขต 1 1 สมโภชน์ ประสาทไทย เพื่อไทย 82 63.1 นครราชสีมา เขต 2 1 สุธรรม พรสันเทียะ เพื่อไทย 77 59.2 นครราชสีมา เขต 3 1 ลินดา เชิดชัย เพื่อไทย 38 29.2 นครราชสีมา เขต 4 1 ทัศนียา รัตนเศรษฐ เพื่อไทย 55 42.3 หมายเหตุ : มีคะแนนใกล้เคียงกับสมเกียรติ ตันดิลกตระกูล พรรคภูมิใจไทย (คะแนนเสียงร้อยละ 39.2) นครราชสีมา เขต 5 16 ภิรมย์ พลวิเศษ ภูมิใจไทย 38 33.6 นครราชสีมา เขต 6 1 สุชาติ ภิญโญ เพื่อไทย 95 73.1 นครราชสีมา เขต 7 1 อธิรัฐ รัตนเศรษฐ เพื่อไทย 93 71.5 นครราชสีมา เขต 8 10 ธีราภรณ์ กลางพิมาย ประชาธิปัตย์ 32 24.6 หมายเหตุ : มีคะแนนใกล้เคียงกับอนุวัฒน์ วิเศษจินดาวัฒน์ พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน (คะแนนเสียงร้อยละ 22.3) นครราชสีมา เขต 9 2 พลพรี สุวรรณฉวี ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 35 26.9 นครราชสีมา เขต 10 1 ซ้าย ผลกระโทก เพื่อไทย 53 40.8 นครราชสีมา เขต 11 1 สัมภาษณ์ อัตถาวงศ์ เพื่อไทย 78 60.5 นครราชสีมา เขต 12 16 ประนอม โพธ์คำ ภูมิใจไทย 102 78.5 นครราชสีมา เขต 13 1 ศิรสิทธิ์ เลิศด้วยลาภ เพื่อไทย 65 50.0 นครราชสีมา เขต 14 1 ประเสริฐ จันทรรวงทอง เพื่อไทย 73 55.7 นครราชสีมา เขต 15 2 บุญเลิศ ครุฑขุนทด ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 51 39.2 บึงกาฬ เขต 1 1 เชิดพงษ์ ราชป้องขันธ์ เพื่อไทย 126 97.7 บึงกาฬ เขต 2 1 ไตรรงค์ ติธรรม เพื่อไทย 122 95.3 บุรีรัมย์ เขต 1 10 นภดล อังคสุภณ ประชาธิปัตย์ 50 38.5 บุรีรัมย์ เขต 2 16 รังสิกร ทิมาตฤกะ ภูมิใจไทย 62 48.4 บุรีรัมย์ เขต 3 1 อาทิตย์ ยุทธเสรี เพื่อไทย 71 55.0 บุรีรัมย์ เขต 4 1 สราวุฒิ แหวนมุกข์ เพื่อไทย 44 33.8 16 อารีญาภรณ์ ซารัมย์ ภูมิใจไทย 44 33.8 หมายเหตุ : มีคะแนนเท่ากัน บุรีรัมย์ เขต 5 16 มนต์ไชย ชาติวัฒนศิริ ภูมิใจไทย 43 33.6 บุรีรัมย์ เขต 6 1 พรชัย ศรีสุริยันโยธิน เพื่อไทย 45 35.4 หมายเหตุ : มีคะแนนใกล้เคียง มนต์ไชย ชาติวัฒนศิริ พรรคภูมิใจไทย (คะแนนเสียงร้อยละ 34.6) บุรีรัมย์ เขต 7 1 หนูแดง วรรณกางซ้าย เพื่อไทย 98 75.4 บุรีรัมย์ เขต 8 1 ขจรธน จุดโต เพื่อไทย 55 42.3 บุรีรัมย์ เขต 9 16 จักรกฤษณ์ ทองศรี ภูมิใจไทย 64 49.2 มหาสารคาม เขต 1 1 สุรจิตร ยนต์ตระกูล เพื่อไทย 99 55.0 มหาสารคาม เขต 2 1 ไชยวัฒน์ ติณรัตน์ เพื่อไทย 75 57.7 มหาสารคาม เขต 3 1 ยุทธพงศ์ จรัสเสถียร เพื่อไทย 71 54.6 มหาสารคาม เขต 4 1 จิรวัฒน์ ศิริพานิชย์ เพื่อไทย 89 68.5 มหาสารคาม เขต 5 1 กุสุมาลวตรี ศิริโกมุท เพื่อไทย 90 58.8 มุกดาหาร เขต 1 1 อนุรักษ์ ตั้งปณิธานนท์ เพื่อไทย 71 55.0 มุกดาหาร เขต 2 1 บุญฐิน ประทุมลี เพื่อไทย 79 61.7 ยโสธร เขต 1 1 ปิยวัฒน์ พันธ์สายเชื้อ เพื่อไทย 53 40.8 ยโสธร เขต 2 1 บุญแก้ว สมวงศ์ เพื่อไทย 41 31.5 หมายเหตุ : มีคะแนนใกล้เคียง รณฤทธิชัย คานเขต พรรคภูมิใจไทย (คะแนนเสียงร้อยละ 28.5) ยโสธร เขต 3 1 พีรพันธุ์ พาลุสุข เพื่อไทย 52 40.0 ร้อยเอ็ด เขต 1 1 วราวงศ์ พันธุ์ศิลา เพื่อไทย 82 63.6 ร้อยเอ็ด เขต 2 1 ฉลาด ขามช่วง เพื่อไทย 97 75.8 ร้อยเอ็ด เขต 3 1 นิรมิตร สุจารี เพื่อไทย 58 45.7 ร้อยเอ็ด เขต 4 1 นิรันดร์ นาเมืองรักษ์ เพื่อไทย 107 82.3 ร้อยเอ็ด เขต 5 1 เอมอร สินธุไพร เพื่อไทย 118 90.8 ร้อยเอ็ด เขต 6 1 กิตติ สมทรัพย์ เพื่อไทย 87 66.9 ร้อยเอ็ด เขต 7 1 สักดา คงเพชร เพื่อไทย 112 90.3 ร้อยเอ็ด เขต 8 1 เศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ เพื่อไทย 84 65.1 เลย เขต 1 1 ปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข เพื่อไทย 77 58.8 เลย เขต 2 1 นันทนา ทิมสุวรรณ เพื่อไทย 72 55.0 เลย เขต 3 1 เปล่งมณี เร่งสมบูรณ์สุข เพื่อไทย 48 46.6 เลย เขต 4 1 วันชัย บุษบา เพื่อไทย 73 57.9 ศรีสะเกษ เขต 1 1 ธเนศ เครือรัตน์ เพื่อไทย 111 85.4 ศรีสะเกษ เขต 2 1 สุรชาติ ชาญประดิษฐ์ เพื่อไทย 104 80.0 ศรีสะเกษ เขต 3 1 ณรงค์สิทธิ เครือรัตน์ เพื่อไทย 56 43.1 ศรีสะเกษ เขต 4 1 วิวัฒน์ชัย โหตระไวศยะ เพื่อไทย 114 88.4 ศรีสะเกษ เขต 5 1 ธีระ ไตรสรณกุล เพื่อไทย 102 79.7 ศรีสะเกษ เขต 6 1 วีระพล จิตสัมฤิทธิ์ เพื่อไทย 102 79.1 ศรีสะเกษ เขต 7 1 มานพ จรัสดำรงนิตย์ เพื่อไทย 117 90.0 ศรีสะเกษ เขต 8 1 ปวีณ แซ่จึง เพื่อไทย 116 89.9 สกลนคร เขต 1 1 อภิชาติ ตีรสวัสดิชัย เพื่อไทย 87 66.9 สกลนคร เขต 2 1 นิยม เวชกามา เพื่อไทย 78 60.5 สกลนคร เขต 3 1 นริศร ทองธิราช เพื่อไทย 80 61.5 สกลนคร เขต 4 2 วีรศักดิ์ พรหมภักดี ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 57 43.8 หมายเหตุ : มีคะแนนใกล้เคียง พัฒนา สัพโส พรรคเพื่อไทย (คะแนนเสียงร้อยละ 40.0) สกลนคร เขต 5 1 อนุรักษ์ บุญศล เพื่อไทย 66 51.2 สกลนคร เขต 6 1 เสรี สาระนันท์ เพื่อไทย 107 82.9 สกลนคร เขต 7 1 เกษม อุประ เพื่อไทย 117 91.4 สุรินทร์ เขต 1 16 ปกรณ์ มุ่งเจริญพร ภูมิใจไทย 116 89.2 สุรินทร์ เขต 2 16 กิตติศักดิ์ รุ่งธนเกียรติ ภูมิใจไทย 53 40.8 หมายเหตุ : มีคะแนนใกล้เคียง ปิยะดา มุ่งเจริญพร พรรคเพื่อไทย (คะแนนเสียงร้อยละ 39.2) สุรินทร์ เขต 3 1 คุณากร ปรีชาชนะชัย เพื่อไทย 52 40.6 สุรินทร์ เขต 4 1 ตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูล เพื่อไทย 55 42.6 สุรินทร์ เขต 5 1 ครูมานิตย์ สังข์พุ่ม เพื่อไทย 94 72.9 สุรินทร์ เขต 6 1 จ.ส.ต.ประสิทธิ์ ไชยศรีษะ เพื่อไทย 50 38.2 สุรินทร์ เขต 7 1 สมบัติ ศรีสุรินทร์ เพื่อไทย 53 40.8 สุรินทร์ เขต 8 1 ชูศักดิ์ แอกทอง เพื่อไทย 114 87.7 หนองคาย เขต 1 1 ว่าที่ ร.ต. พงศ์พันธ์ สุนทรชัย เพื่อไทย 113 86.9 หนองคาย เขต 2 1 สมคิด บาลไธสง เพื่อไทย 104 80.0 หนองคาย เขต 3 1 ชมภู จันทาทอง เพื่อไทย 104 80.0 หนองบัวลำภู เขต 1 1 พิษณุ หัตถสงเคราะห์ เพื่อไทย 112 86.8 หนองบัวลำภู เขต 2 1 ไชยา พรหมา เพื่อไทย 101 77.7 หนองบัวลำภู เขต 3 1 วิชัย สามิตร เพื่อไทย 79 60.8 อำนาจเจริญ เขต 1 1 สมหญิง บัวบุตร เพื่อไทย 47 36.2 หมายเหตุ : มีคะแนนใกล้เคียง ไพศาล จันทวารา พรรคประชาธิปัตย์ (คะแนนเสียงร้อยละ 33.1) อำนาจเจริญ เขต 2 1 ชัยศรี กีฬา เพื่อไทย 95 73.1 อุดรธานี เขต 1 1 ศราวุธ เพชรพนมพร เพื่อไทย 110 84.6 อุดรธานี เขต 2 1 พ.ต.ท.สุรทิน พิมานเมฆินทร์ เพื่อไทย 107 84.3 อุดรธานี เขต 3 1 อนันต์ ศรีพันธุ์ เพื่อไทย 107 82.3 อุดรธานี เขต 4 1 ขจิตร ชัยนิคม เพื่อไทย 72 59.5 อุดรธานี เขต 5 1 ทองดี มนิสสาร เพื่อไทย 93 71.5 อุดรธานี เขต 6 1 เกียรติ์อุดม เมนะสวัสดิ์ เพื่อไทย 58 44.6 อุดรธานี เขต 7 1 จักรพรรดิ ไชยสาส์น เพื่อไทย 111 85.4 อุดรธานี เขต 8 1 เกรียงศักดิ์ ฝ้ายสีงาม เพื่อไทย 116 89.2 อุดรธานี เขต 9 1 เทียบจุฑา ขาวขำ เพื่อไทย 103 79.2 อุบลราชธานี เขต 1 1 วรสิทธิ์ กัลป์ตินันต์ เพื่อไทย 65 50.4 อุบลราชธานี เขต 2 1 สมบัติ รัตโน เพื่อไทย 62 48.1 อุบลราชธานี เขต 3 1 ณรงค์ชัย วีระกุล เพื่อไทย 46 35.4 อุบลราชธานี เขต 4 1 สุพล ฟองงาม เพื่อไทย 58 44.6 หมายเหตุ : มีคะแนนใกล้เคียง เพิ่มศักดิ์ ศุภโกศล พรรคประชาธิปัตย์ (คะแนนเสียงร้อยละ 41.5) อุบลราชธานี เขต 5 1 สุทธิชัย จรูญเนตร เพื่อไทย 94 72.9 อุบลราชธานี เขต 6 1 พิสิษฐ์ สันตพันธุ์ เพื่อไทย 36 28.3 2 อุดร ทองประเสริฐ ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน 36 28.3 หมายเหตุ : มีคะแนนเท่ากัน อุบลราชธานี เขต 7 1 ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ เพื่อไทย 53 40.8 อุบลราชธานี เขต 8 1 บุญยังมั่น โสภาสาย เพื่อไทย 48 37.2 อุบลราชธานี เขต 9 1 ปัญญา จินตะเวช เพื่อไทย 76 58.5 อุบลราชธานี เขต 10 1 สมคิด เชื้อคง เพื่อไทย 66 51.6 อุบลราชธานี เขต 11 10 เอกชัย ทรงอำนาจเจริญ ประชาธิปัตย์ 60 46.2 โพลล์มหาวิทยาลัยหาดใหญ่เผย 6 จังหวัดใต้ ปชป.ได้ 22 ที่นั่ง จาก 24 ที่นั่ง พท.-มาตุภูมิแบ่งกัน 2 ที่นัง 25 มิ.ย. 54 - รศ.ทัศนีย์ ประธาน รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ เปิดเผยผลการสำรวจหาดใหญ่โพลล์ ที่สำรวจความคิดเห็นของประชาชน 6 จังหวัดภาคใต้ ประกอบด้วย จังหวัดสงขลา สตูล พัทลุง ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส จาก 1,102 ตัวอย่าง สำรวจวันที่ 20-23 มิถุนายน พบว่า ประชาชน 6 จังหวัดภาคใต้ จะเลือกผู้สมัครพรรคประชาธิปัตย์ 22 ที่นั่งจาก 24 ที่นั่ง ขณะที่ จ.นราธิวาส ผู้สมัครจากพรรคเพื่อไทย เขต 2 และพรรคมาตุภูมิ เขต 3 สามารถชนะการเลือกตั้งได้ ส่วนการเลือกตั้งในแบบบัญชีรายชื่อพบว่า ประชาชนร้อยละ 52.5 จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์ แต่มีแนวโน้มลดลงจากผลการสำรวจครั้งที่ 1 ร้อยละ 70.1 รองลงมาเลือกพรรคเพื่อไทยร้อยละ 18.5 พรรคชาติไทยพัฒนาร้อยละ 9.7 และร้อยละ 4.9 จะไม่เลือกพรรคใดเลย (โหวตโน) คาดว่าจะมีผู้ไม่ประสงค์ลงคะแนนอย่างน้อยประมาณ 2 แสนคน ส่วนการเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล ประชาชนร้อยละ 68.2 ต้องการเห็นพรรคประชาธิปัตย์เป็นรัฐบาล ให้พรรคเพื่อไทยร้อยละ 31.8 เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล แต่เมื่อเปรียบเทียบกับผลการสำรวจครั้งที่ 1 พบว่า ประชาชนต้องการเห็นพรรคประชาธิปัตย์เป็นแกนนำจัดตั้งรัฐบาล มีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ 76.8 เหลือเพียงร้อยละ 68.2 เท่านั้น ที่มาข่าวเรียบเรียงจาก: เดลินิวส์, มติชนออนไลน์

ร่วมบริจาคเงิน สนับสนุน ประชาไท โอนเงิน กรุงไทย 091-0-10432-8 "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน FCEM" หรือ โอนผ่าน PayPal / บัตรเครดิต (รายงานยอดบริจาคสนับสนุน)

ติดตามประชาไท ได้ทุกช่องทาง Facebook, X/Twitter, Instagram, YouTube, TikTok หรือสั่งซื้อสินค้าประชาไท ได้ที่ https://shop.prachataistore.net