Skip to main content
sharethis

 





















































































































การดำเนินการ


ประเด็น


พื้นที่


ข้อเท็จจริง


ผลการดำเนินการ ณ ปัจจุบัน


ข้อเสนอ


ผลการหารือ


(๑) ขอให้ดำเนินการอย่างเร่งด่วน


(๑.๑) ที่ดินรัฐ ที่ชุมชนอยู่อาศัยมายาวนาน


- ๘ ชุมชน จ.ตรังเช่น  บ้านตะเสะ  บ้านควนตุงกู บ้านเกาะมุก บ้านแหลมไทร บ้านฉางหลาง ฯลฯ


- ชุมชนหัวแหลม-สังกาอู้ อ.เกาะลันตาใหญ่ จ.กระบี่


- ทุ่งหว้า จ.พังงา


- ปากบาง จ.ภูเก็ต


คณะอนุกรรมการการแก้ไขปัญหาที่ดินฯ มีมติแล้วว่าชาวบ้านอยู่ก่อนและตัดสินให้อยู่ต่อได้


ยังไม่มีการดำเนินการใดๆ ตามมติ


ให้รับรองสิทธิชุมชนเป็นโฉนดรวมหรือประกาศอื่นใดภายใน ๑ เดือน


 


 


(๑.๒) ที่ดินที่มีกรณีพิพาทกับเอกชน และ


จำเป็นต้องพิสูจน์สิทธิ


แหลมป้อม/ทับตะวัน/ในไร่/ปลากะตัก และลายัน


กรมทีดินกำลังพิสูจน์การได้มาของเอกสารสิทธิ ในชุมชน แหลมป้อม ทับตะวัน และในไร่ ส่วน


ปลากะตักและลายันชุมชนกับนักวิชาการดำเนินการทำข้อมูลชุมชนแล้ว


อยู่ระหว่างการตรวจสอบเอกสารสิทธิ


ขอให้เร่งรัดให้มีการพิสูจน์สิทธิทุกชุมขนภายใน ๑ เดือน


 


 


(๑.๓) ชุมชนกรณีถูกฟ้องบังคับคดี ไล่ที่และถูกข่มขู่


ทับยาง/ลายัน/ในไร่/เกาะแก้ว/กะตัก/โคกโตนดเฉลิพระเกียรคิ / คลองนิน


ถูกฟ้องร้องขับไล่มีหมายศาลและถูกข่มขู่คุกคามทำให้ชาวบ้านต้องใช้เงินจำนวนมากเพื่อขึ้นศาล และบ้านทับยางกำลังไร้ที่อยู่อาศัย


เดือดร้อน ไม่ได้รับการช่วยเหลือ เพิ่มภาระทางการเงิน


ขอให้หาวิธีระงับการฟ้องร้องขับไล่และยุติการข่มขู่คุกคาม


 


 


(๑.๔) สาธารณูปโภคพื้นฐานน้ำและไฟฟ้า


ทุกพื้นที่ที่ยังไม่มีข้อยุติเรื่องที่ดินจำนวนประมาณ ๕๖ แห่ง


ไม่ได้รับสาธารณูปโภค ค่าน้ำ ไฟ แพง และเป็นทะเบียนบ้านชั่วคราว


ยังไม่มีการดำเนินการใดๆ


ขอให้มีทะเบียนบ้านถาวรและมีน้ำ ไฟฟ้าใช้ในราคาปกติ


 


 


(๑.๕) กรณีคนไทยพลัดถิ่น


ทุกพื้นที่ที่มีปัญหา


เช่น ระนอง ๒๐ พื้นที่ ประจวบฯ ๕ พื้นที่ ชุมพร ๑ พื้นที่


-ไม่มีบัตรประจำตัวประชาชน สมัครงานไม่ได้ ไม่ได้รับสิทธิการบริการพื้นฐานของรัฐ


- หลังประสบภัยสึนามิ ไม่ได้รับการช่วยเหลือ


ภายใต้มติ ครม. ๑ ๘ ม.ค. ๔๘ ยังไม่มีรูปธรรมในการแก้ปัญหา


ภายใน ๑ เดือนขอให้รับรองบัตรประจำตัวของเครือข่ายแก้ปัญหาฯ  จนกว่าการคืนสัญชาติจะแล้วเสร็จ


 


 


(๑.๖) เรื่องเด็ก เยาวชน และสตรี


ทุกพื้นที่ที่ประสบภัย


ชุมชนได้ริเริ่มดำเนินการเองแล้วบางแห่ง ควรสนับสนุนเพิ่มเติม


มีเครือข่ายองค์กรเด็กผู้ประสบภัยแล้ว


- ทุนการศึกษาเด็กที่ประสบภัยที่ไม่กำพร้า


- ทุน หญิงหม้ายเพื่อให้ดูแลตนเองและครอบครัวได้


- ศูนย์การเรียนรู้ของเยาวชนทุกพื้นที่


 


(๒) ปรับปรุงวิธีดำเนินการของราชการ


(๒.๑) อาชีพและกองทุนหมุนเวียน


ทุกพื้นที่ประสบภัย


ไม่มีเงินทุนหมุนเวียน ควรสนับสนุนเงินเป็นกองทุนให้ชุมชนบริหารจัดการเอง


ชุมชนมีการจัดตั้งกองทุนหมุนเวียนบ้างแล้วด้วยเงินบริจาค


ขอให้เร่งรัดให้เกิดกองทุนหมุนเวียนภายใน ๑ เดือนในทุกพื้นที่


 


(๓) พิสูจน์ข้อเท็จจริง แก้กฎหมาย/ระเบียบ


(๓.๑) การคืนสัญชาติคนไทยพลัดถิ่น


ทุกพื้นที่ที่มีปัญหา


เช่น ระนอง ๒๐ พื้นที่ ประจวบฯ ๕ พื้นที่ ชุมพร ๑ พื้นที่


คนไทยพลัดถิ่น จำนวน ๒๐,๐๐๐ คน ยังไม่ได้สัญชาติไทย


ภายใต้มติ ครม. ๑ ๘ ม.ค. ๔๘ ยังไม่มีรูปธรรมในการแก้ปัญหา


ให้มีการสืบค้นประวัติศาสตร์ความเป็นมาโดยเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมและคืนสัญชาติไทยให้กับคนไทยพลัดถิ่นโดยเร็ว


 


 


(๓.๒) ที่ดินที่ออกเอกสารสิทธิโดยมิชอบ


พื้นที่ที่มีกรณีพิพาท


ที่ดินมีกรณีพิพาทระหว่างชุมชนกับเอกชนและมีข้อสงสัยการออกเอกสารสิทธิและเอกชนอ้างสิทธิไล่ที่ชุมชน


ยังไม่มีการดำเนินการใดๆ แต่กรรมสิทธิฯ กำลังดำเนินการตรวจสอบ


ขอให้มีการเร่งตรวจสอบแผนที่ทางอากาศและเอกสารอื่นๆ หากพบว่ามีการออกโดยมิชอบขอให้เพิกถอนเอกสารสิทธิ และรับสิทธิชุมชนฯ


 


 


 


(๓.๓) ที่ดินที่มีการร้องเรียนคณะอนุกรรมการฯเพิ่มเติม


มีการร้องเรียนจากชุมชนอีกประมาณ ๕๖ แห่ง


เรื่องอยู่ระหว่างนำเสนอและรอการประชุมของคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาที่ดินฯ


รอการประชุมของอนุกรรมการฯ


 


ขอให้เร่งรัดการประชุม


และหาข้อยุติโดยเร็ว


 


 


 


 


 


(๓.๓)  นโยบายรัฐ


จังหวัดชายฝั่งทะเล


มีการประกาศนโยบาย Sea Food Bank และ อพท. ทำให้เกิดผลกระทบต่อวิถีชีวิตดั้งเดิม


มีการออกโฉนดน้ำบางพื้นที่  แต่ชาวบ้านไม่รับเพราะไม่เข้าใจ


ทบทวนนโยบาย


 


(๔) สนับสนุนกลไก งบประมาณและกระบวนการฟื้นฟูโดยชุมชน


(๔.๑) การฟื้นฟู


วัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้าน


๖ จังหวัดอันดามัน


 


มีการละเล่นพื้นบ้านที่กำลังจะสูญหาย เช่น รองแง็ง  ขับโย่ง   ลิเกป่า  มโนราห์ ฯลฯ


มีความพยายามฟื้นฟูโดยชุมชน ประมาณ ๙  แห่ง


สนับสนุนงบประมาณตรงไปยังเครือข่ายวัฒนธรรมชุมชน จังหวัดละ ๑ ล้านบาท เพื่อการฟื้นฟูวัฒนธรรมพื้นบ้าน


 


 


 


 


(๔.๒) การจัดกลไกการแก้ปัญหาที่ดินและฟื้นฟูท้องถิ่นเรื่องอื่นๆ


๖ จังหวัดอันดามัน


มีอนุกรรมการฯ แก้ไขปัญหาที่ดินสึนามิ ระดับประเทศ แต่ยังไม่มีตัวแทนชาวบ้าน


สามารถแก้ปัญหาไปได้แล้ว ๑๓ แห่ง แต่ยังมีร้องเรียนเพิ่มเติมอีก ๕๖ แห่ง


๑. ระดับประเทศ ให้มีตัวแทนเครือข่ายชาวบ้าน ๖ คน(จังหวัดละ ๑ คน) เข้าร่วมในอนุกรรมการแก้ไขปัญหาที่ดินเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนในพื้นที่ธรณีพิบัติฯ  เพื่อให้การแก้ปัญหาเร็วขึ้น      


 


๒. ระดับจังหวัด ขอให้มีตัวแทนชาวบ้านเข้าร่วมกับคณะกรรมการระดับจังหวัด ที่มีผู้ว่าเป็นประธาน เพื่อแก้ปัญหา


 


 


กลับหน้าแรกประชาไท


 


 

ร่วมบริจาคเงิน สนับสนุน ประชาไท โอนเงิน กรุงไทย 091-0-10432-8 "มูลนิธิสื่อเพื่อการศึกษาของชุมชน FCEM" หรือ โอนผ่าน PayPal / บัตรเครดิต (รายงานยอดบริจาคสนับสนุน)

ติดตามประชาไท ได้ทุกช่องทาง Facebook, X/Twitter, Instagram, YouTube, TikTok หรือสั่งซื้อสินค้าประชาไท ได้ที่ https://shop.prachataistore.net